รีวิวห้องสมุดโฉมใหม่ ห้องสมุดวิทย์สุขภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ที่มาของเรื่องวันนี้ : รับปากพี่ท่านหนึ่งใน facebook (Aon Rawiwan) มาสักระยะใหญ่ๆ แล้วนะครับ วันนี้พอจะมีเวลาเลยขอโปรโมทให้พี่เขาหน่อย ห้องสมุดที่ผมจะแนะนำวันนี้ คือ ห้องสมุดวิทย์สุขภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร ครับ ห้องสมุดแห่งนี้เพิ่งได้รับการปรับโฉมใหม่ วันนี้ผมจึงขอนำข้อมูลที่มาที่ไปของการปรับปรุงในรูปแบบถามตอบ และภาพถ่ายสวยๆ ของห้องสมุดแห่งนี้มาฝากครับ

ตามติดไอเดียและความรู้จากงาน TKFORUM2020 (ฉบับคนที่ไม่ได้ไปร่วมงาน)

ในความเสียดายที่ไม่ได้ไปร่วมงาน TK Forum 2020 เพราะติดภารกิจ แต่เชื่อมั้ยครับ วันนี้คนที่ไปพยายามแชร์ไอเดียสิ่งที่ได้จากการไปงานนี้ใน Facebook และ Twitter ซึ่งผมขอรวบรวมข้อความ และเครดิตให้เพื่อนๆ ที่โพสให้อ่าน

รีวิวหนังสือ “ไอเดียนวัตกรรมในห้องสมุดประชาชนสุดเจ๋ง”

นานๆ ทีจะมีเวลามานั่งอ่านและรีวิวหนังสือ วันนี้ขอเลือกหนังสือเรื่อง “Innovation in Public Libraries” หรือ “นวัตกรรมในห้องสมุดประชาชน” (คิดว่าน่าจะเป็นเรื่องเบาๆ นะครับ) และบรรณารักษ์น่าจะหยิบแนวคิดไปใช้ได้บ้าง ข้อมูลทั่วไปของหนังสือเล่มนี้ชื่อเรื่อง : Innovation in Public Libraries: Learning from International Library Practiceผู้แต่ง : Kirstie NicholsonISBN : 9780081012765ปีพิมพ์ : 2017จำนวนหน้า : 158 หน้า

จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม สู่การเป็นห้องสมุดแห่งอนาคต

วันนี้ได้อ่านหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ (8 พ.ย. 62) คอลัมน์ Think Marketing Weapon โดย รศ.ดร.กฤตินี ณัฏฐวุฒิสิทธิ์ (Sasin) เรื่อง “จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม” พออ่านจบรู้สึกว่าเป็นประโยชน์มากๆ เลยขอนำมาเล่าให้เพื่อนๆ อ่าน Keywork : จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม เป็นคำที่ผมเชื่อว่าหลายๆ คนน่าจะเข้าใจความหมาย แต่มันเชื่อมโยงกันอย่างไร เรามาดูกันทีละคำเลยครับ

ห้องสมุดยุคใหม่ทำไมต้องใช้ Customer Journey ศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการ

การศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการไม่ใช่เรื่องใหม่อย่างที่คิดหรอกนะครับ เริ่มต้นผมคงต้องเกริ่นว่าเรื่องนี้นักวิจัย นักวิชาการทำกันมานานแล้ว ซึ่งการจะทำความเข้าใจผู้ใช้บริการได้ เริ่มมาจากการเก็บข้อมูลแล้วนำข้อมูลต่างๆ มาวิเคราะห์ แล้วนำมาทำความเข้าใจว่าที่ผู้ใช้มีพฤติกรรมแบบนั้นแบบนี้เป็นเพราะปัจจัยนู้นนี่นั่น…. ผมลองค้นใน Google เล่นๆ พบงานวิจัย / งานวิทยานิพนธ์ที่ทำการศึกษาพฤติกรรมของผู้ใช้บริการในห้องสมุดมากมาย เช่น

ห้องสมุดยุคใหม่ : การแบ่งพื้นที่ภายในห้องสมุดประชาชนในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป

ห้องสมุด ไม่ใช่ “ห้องเก็บหนังสือ” หรือ “โกดังหนังสือ” หรือ “ห้องอ่านหนังสือ” เพียงอย่างเดียวอีกแล้ว หนึ่งในภารกิจของห้องสมุดที่เราปฏิเสธไม่ได้ คือ “การเป็นแหล่งเรียนรู้” ซึ่งการเรียนรู้ก็ไม่ได้มีเฉพาะแค่เรื่องการอ่านเพียงอย่างเดียว ประโยคยอดฮิตของผม คือ “ความรู้สำคัญกว่าสถานที่” ถึงเวลาแล้วที่เราต้องเปลี่ยนแปลงรูปแบบสถานที่ของห้องสมุดเพื่อให้ตอบโจทย์นี้

ห้องสมุดที่สามารถรักษาสมดุลของทุกสิ่ง (GST Model) – ห้องสมุดรักษ์โลก

เมื่อวันก่อนผมได้เข้าร่วมงานประชุมวิชาการ เรื่อง “ทักษะวิชาชีพบรรณารักษ์ในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก” (Professional Librarian Development and Disruptive Technologies) ในฐานะวิทยากรตัวแทนจากตลาดหลักทรัพย์ ก่อน session ของผม ดร.กฤษฎา (รองผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์ฯ) ได้กล่าวเปิดงานและบรรยายเรื่อง Future Thai Citizens and Learning Revolution ซึ่งผมได้ไอเดียจากสไลด์หน้าหนึ่งของท่าน ในหน้าดังกล่าวอาจารย์กฤษฎาได้มาจากสไลด์ของอาจารย์สุวิทย์ เมษินทรีย์ ซึ่งกล่าวถึงความสมดุลในทุกสิ่ง

7 สิ่ง Cool ๆ ที่บรรณารักษ์ห้องสมุดทำ (มากกว่าแค่เรื่องหนังสือ)

วันนี้อ่านบล็อกเรื่องหนึ่งแล้วประทับใจมากๆ ชื่อเรื่องว่า “7 COOL THINGS LIBRARIES ARE DOING, BEYOND THE BOOKS” ซึ่งแสดงให้เห็นว่า “เรายังมีอีกหลายเรื่องที่สามารถทำเพื่อสังคมและผู้ใช้บริการของเราได้” เรามาดูกันว่า 7 สิ่ง Coolๆ ที่บรรณารักษ์ห้องสมุดทำมากกว่าแค่เรื่องหนังสือ มีอะไรบ้าง

การปรับตัวและการเรียนรู้ของสังคมในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก (สไลด์บรรยาย)

เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา (1 พ.ย.) ชมรมห้องสมุดเฉพาะ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ได้จัดการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2562 ชมรมห้องสมุดเฉพาะ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ และ การประชุมวิชาการ เรื่อง “ทักษะวิชาชีพบรรณารักษ์ในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก” (Professional Librarian Development and Disruptive Technologies) และผมเองก็ได้รับมอบหมายให้เป็นหนึ่งในวิทยากรในการประชุมวิชาการดังกล่าว โดยใน Session ของผม หัวข้อ “การปรับตัวและการเรียนรู้ของสังคมในยุคเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก” ซึ่งมีเวลาเพียง 45 นาที วันนี้ผมจึงขอสรุปให้เพื่อนๆ ได้อ่าน พร้อมทั้งนำสไลด์ในการบรรยายมาให้ชม

เมื่อผู้ใช้บริการต้องการทั้งความเงียบและความไม่เงียบในห้องสมุด

“จุ๊ จุ๊ จุ๊ … ที่นี่ห้องสมุดนะ อย่าทำเสียงดังรบกวนคนอื่นสิครับ” “ชู่ส์… เงียบๆ กันหน่อย ที่นี่ห้องสมุดนะ” ประโยคยอดฮิตของเหล่าบรรณารักษ์ที่คอยพิทักษ์ความเงียบกริบในห้องสมุด จากประโยคข้างต้นในอดีตจนถึงปัจจุบัน ทำให้ภาพลักษณ์ของห้องสมุดต้องเป็นสถานที่ที่เงียบกริบเท่านั้น ซึ่งหากเราทำความเข้าใจถึงอดีต เราจะทราบว่า ภายในห้องสมุดจะแต่งไปด้วยหนังสือวิชาการ และผู้คนที่เข้าไปใช้ก็ล้วนแล้วแต่จะต้องอ่านหนังสือในสถานที่แห่งนี้ และต้องการสมาธิสูงมากๆ เพื่อจะเรียนรู้ให้แตกฉาน และห้องสมุดก็เป็นสถานที่แบบนี้มาจนถึงปัจจุบัน