ขอเล่าต่อจากงานสัมมนาเมื่อกี้นะครับ “การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Preservation of Local Wisdom)” ชื่อของการจัดสัมมนา – การสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง สารสนเทศและภูมิปัญญาท้องถิ่น (19/2/52) สถานที่ในการจัดงาน – อาคารสัมมนา 2 ห้อง 233 (19/2/52) งานสัมมนาครั้งนี้ จัดโดย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ร่วมกับ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย และ IFLA RSCAO หัวข้องานสัมมนาในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552 ที่น่าสนใจ ????????????????????????? การบรรยาย เรื่อง การจัดการสารสนเทศท้องถิ่น โดย ศ.ดร.ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน ขอบเขตของสารสนเทศท้องถิ่น – สารสนเทศท้องถิ่นชุมชน ?> สารสนเทศตามเขตภูมิศาสตร์ ?> สารสนเทศตามอาณาเขตวัฒนธรรม ภูมิปัญญา คือ ความรู้ ความคิด ความเชื่อ ความสามารถ ความชัดเจน ที่เป็นผลจากการใช้สติปัญญา ภูมิปัญญาชาวบ้าน? -> ภูมิปัญญาไทย -> ภูมิปัญญาสากล สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา แบ่งภูมิปัญญา เป็น 9 ด้าน ดังนี้ – เกษตรกรรม – อุตสาหกรรม – การแพทย์แผนไทย – การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ – กองทุนและธุรกิจชุมชน – ศิลปวัฒนธรรม – ภาษาและวรรณกรรม – ปรัชญา ศาสนา และประเพณี – โภชนาการ ข้อมูลท้องถิ่นที่จะสามารถนำมาแปลงเป็นสารสนเทศท้องถิ่นได้ เช่น – การบันทึกข้อมูลของท้องถิ่น –…
Day: November 3, 2009
การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Preservation of Local Wisdom)
วันนี้ผมมานั่งฟังบรรยาย เรื่อง การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Preservation of Local Wisdom) ซึ่งจัดโดย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ร่วมกับ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย และ IFLA RSCAO ดังนั้นผมคงไม่พลาดที่จะสรุปเนื้อหาให้เพื่อนๆ ได้อ่านกัน แต่ก่อนจะอ่านเรื่องที่ผมสรุปนั้น ผมขอพูดถึงงานสัมมนาครั้งนี้ให้เพื่อนๆ ฟังก่อน งานสัมมนาครั้งนี้ จัด 2 วัน คือ วันที่ 18 – 19 กุมภาพันธ์ 2552 ชื่อของการจัดสัมมนา – การสัมมนานานาชาติ เรื่อง การอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น (Preservation of Local Wisdom) (18/2/52) – การสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง สารสนเทศและภูมิปัญญาท้องถิ่น (19/2/52) สถานที่ในการจัดงาน – อาคารสัมมนา 1 ห้อง 5209 (18/2/52) – อาคารสัมมนา 2 ห้อง 233 (19/2/52) งานสัมมนาครั้งนี้ จัดโดย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ร่วมกับ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย และ IFLA RSCAO หัวข้องานสัมมนาในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552 ที่น่าสนใจ ??????????????????- Preservation of Local Wisdom : Best Practices โดย Prof. Gary Gorman และ Dr. Dan Dorner สถานการณ์ปัจจุบัน – การเพิ่มจำนวนของการเข้าถึงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มีมากขึ้น…