เป็นบรรณารักษ์ที่ดี เป็นง่าย ผมมีวิธี ลองอ่านเรื่องนี้ และนำไปทำตาม
วันนี้จั่วหัวแปลกๆ หน่อยนะครับ
แต่อ่านแล้วรู้สึกถูกใจอย่างบอกไม่ถูก
เรื่องที่ผมนำมาเขียนวันนี้มาจาก http://www.wikihow.com/
ในหัวข้อ How to Be a Good Librarian
ห้องสมุดสำหรับคนรักห้องสมุด บรรณารักษ์ และหนังสือ
เป็นบรรณารักษ์ที่ดี เป็นง่าย ผมมีวิธี ลองอ่านเรื่องนี้ และนำไปทำตาม
วันนี้จั่วหัวแปลกๆ หน่อยนะครับ
แต่อ่านแล้วรู้สึกถูกใจอย่างบอกไม่ถูก
เรื่องที่ผมนำมาเขียนวันนี้มาจาก http://www.wikihow.com/
ในหัวข้อ How to Be a Good Librarian
มีเพื่อนๆ หลายคนถามผมว่า “วิชาชีพห้องสมุด” และ “วิชาชีพบรรณารักษ์”
ควรมีการสอบวัดความสามารถและออกใบรับรองผลกันบ้างหรือไม่
วันนี้ผมจึงขอหยิบเรื่องการสอบใบประกอบวิชาชีพบรรณารักษ์มาเขียน
เผื่อว่ามันอาจจะช่วยให้เราคิดและผลักดันวิชาชีพของเราให้มีการตื่นตัวกันมากขึ้น
บทความใน Lisnews ที่ผมนำมาแปลและถ่ายทอดวันนี้
อาจเป็นเพียงแค่ความคิดของนักออกแบบเว็บไซต์ห้องสมุดเพียง 1 คน
ความคิดที่เขาถ่ายทอดออกมา มันโดนใจผมและทำให้ผมยอมรับได้ว่าจริง
เรื่องของการออกแบบเว็บไซต์ห้องสมุดและการทำเว็บไซต์ห้องสมุดดีๆ
มีหลายคนชอบถามผมว่า “ต้องเป็นแบบไหน” “ต้องมีอะไร” “ต้องทำอะไรได้บ้าง”
ผมจึงตัดสินใจนำแนวคิดของผู้มีประสบการณ์กว่า 15 ปี มาแปล/เรียบเรียงให้อ่าน
วันนี้ขอนำข่าวฝากประชาสัมพันธ์มาลงให้เพื่อนๆ พิจารณานะครับ
เรื่องการรับสมัครบรรณารักษ์ ห้องสมุดสร้างปัญญา (สสส.) (ขออนุญาต copy มาลงแบบเต็มๆ นะครับ)
รู้หรือไม่ … ป้ายเตือนในห้องสมุด มีผลต่อการสร้างบรรยากาศให้ผู้ใช้รู้สึกอยากใช้ห้องสมุด
ผมรู้ครับว่า … ห้องสมุดทุกแห่งมีกฎระเบียบ ห้องสมุดทุกแห่งต้องการความสงบ …..
แต่การมีป้ายเตือน / ป้ายห้ามนู่นห้ามนี่ในห้องสมุดมากๆ ทำให้ผู้ใช้ไม่อยากมาห้องสมุด
วันนี้มีเพื่อนผมคนนึงส่งบทความนี้มาให้ (บทความในนิตยสารแจกฟรี BK)
บทความนี้พูดถึงเรื่องห้องสมุดในกรุงเทพได้น่าสนใจมาก
ในฐานะนายห้องสมุด ก็ต้องนำมาลงให้เพื่อนๆ ได้อ่านกันสักหน่อย
วันนี้ไปเจอแผนภาพที่เกี่ยวกับห้องสมุดประชาชน (Public Libraries) ของคนทั่วโลกมา ข้อมูลในแผนภาพได้บอกถึงจำนวนการมีห้องสมุดประชาชนในแต่ละประเทศว่ามีจำนวนเท่าไหร่ ดูๆ ไปก็แอบอึ้งเล็กๆ เพราะคนที่รวบรวมต้องใช้เวลานานพอสมควรเลยกว่าจะได้ข้อมูลที่ละเอียดหยิบขนาดนี้
มีการจัดอันดับห้องสมุดสุดใหญ่โตและอลังการในประเทศสหรัฐอเมริกา เกณฑ์ในการตัดสินครั้งนี้ คือ วัดจากจำนวนทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด ใครมีมากกว่าก็จะแปลว่าใหญ่กว่า “ตรงไปตรงมากครับ เพราะถ้ามีพื้นที่ในการเก็บเยอะนั้นก็หมายความว่าต้องมีพื้นที่และขนาดที่เยอะไปด้วย”
สถิติจำนวนทรัพยากรสารสนเทศ ได้มาจากการสำรวจของ สมาคมห้องสมุดสหรัฐอเมริกา (ALA)
ตัวเลขผมเองก็ไม่ค่อยแปลกใจสักเท่าไหร่หรอกครับ
แต่ที่ผมสนใจ คือ การนำข้อมูลนี้มาจัดทำเป็นภาพ infographic ต่างหาก
ไปชมกันได้เลยครับ
มีน้องคนนึงอยากให้ผมเขียนเกี่ยวกับเรื่องห้องสมุดสำหรับผู้พิการแบบต่างๆ และให้ยกตัวอย่างในต่างประเทศ
วันนี้ผมขอแนะนำ ห้องสมุดสำหรับผู้พิการทางสายตา ก่อนนะครับ
จริงๆ มีหลายประเทศที่ยกระดับเป็น “หอสมุดสำหรับผู้พิการทางสายตาแห่งชาติ” หรือ National Library for Blind
ดองอัลบั้มนี้มานานมาก จริงๆ ได้ภาพชุดนี้มาตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2556 แต่เพิ่งจะนำมาลงให้เพื่อนๆ ชม
จริงๆ ผมเคยเขียนเกี่ยวกับ “Bishan Public Library” ไปเมื่อปี 2012 ลองอ่านย้อนหลังที่
บรรณารักษ์พาเที่ยวห้องสมุดในสิงคโปร์ : Bishan Public Library